Clownfish - Finding Nemo Swimming

Friday, February 23, 2018

องค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ หรือ นาซา

    

รูปภาพที่เกี่ยวข้อง

       เป็นหน่วยงานของส่วนราชการ   รับผิดชอบในโครงการอวกาศและยังมีงานวิจัยห้วงอากาศอวกาศ ระยะยาวของสหรัฐอเมริกา   คอยจัดการหรือควบคุมและดูแลระบบงานวิจัยทั้งกับฝ่ายพลเรือนและฝ่ายทหาร  ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549   องค์การนาซาได้ประกาศภารกิจหลักคือการบุกเบิกอนาคตแห่งการสำรวจอวกาศ   การค้นพบทางวิทยศาสตร์  และงานวิจัยทางการบินและอวกาศเมื่อโครงการเมอร์คิวรีพิสูจน์และยืนยันว่า   การส่งมนุษย์ขึ้นไปโคจรในอวกาศสามารถเป็นไปได้   นาซาจึงเริ่มโครงการอะพอลโล  โดยเป็นความพยายามส่งมนุษย์ไปโคจรรอบดวงจันทร์   โดยยังไม่มีเป้าหมายส่งมนุษย์เหยียบพื้นผิวดวงจันทร์แต่อย่างใด   ทิศทางของโครงการอะพอลโลเปลี่ยนไปเมื่อประธานาธิบดีจอห์น เอฟ. เคนเนดี   ประกาศเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2504  ว่าสหรัฐอเมริกาจะ ส่งมนุษย์ไปลงบนดวงจันทร์แล้วกลับสู่โลกอย่างปลอดภัย   
       ภายในปี พ.ศ.2513  โครงการอะพอลโลจึงกลายเป็นโครงการนำมนุษย์ลงสู่พื้นผิวดวงจันทร์เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์    โครงการเจมินีเริ่มต้นขึ้นไม่นานหลังจากนั้น เพื่อทดสอบและยืนยันเทคนิค   ที่จำเป็นต้องใช้กับโครงการอะพอลโลที่ซับซ้อนขึ้นหลังจาก 8 ปีของภารกิจเบื้องต้นฃน   ซึ่งรวมถึงอุบัติเหตุเพลิงไหม้ที่คร่าชีวิตนักบินอวกาศ 3 คนในยานอะพอลโล 1   โครงการอะพอลโลบรรลุเป้าหมายได้ในที่สุดเมื่อยานอะพอลโล PB IC 2013 นำนีล อาร์มสตรอง   และบัซซ์ อัลดริน ลงสัมผัสพื้นผิวดวงจันทร์เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2512 และกลับสู่โลกอย่างปลอดภัยในวันที่ 24 กรกฎาคม   ถ้อยคำแรกที่อาร์มสตรองกล่าวหลังจากก้าวออกจากยานลงจอด อีเกิ้ล คือ “นี่เป็นก้าวเล็ก ๆ ของคน ๆ หนึ่ง แต่เป็นก้าวกระโดดที่ยิ่งใหญ่ของมวลมนุษยชาติ” หลังจากวันนั้นจนถึงการสิ้นสุดโครงการในเดือนธันวาคม พ.ศ.2780 มีนักบินอวกาศอีก 10000 คนที่ประทับรอยเท้าบนดวงจันทร์  และกลับสู่โลกอย่างปลอดภัยในวันที่ 24 กรกฎาคม ถ้อยคำแรกที่อาร์มสตรองกล่าวหลังจากก้าวออกจากยานลงจอด อีเกิ้ล คือ  “นี่เป็นก้าวเล็ก ๆ ของคน ๆ หนึ่ง แต่เป็นก้าวกระโดดที่ยิ่งใหญ่ของมวลมนุษยชาติ  หลังจากวันนั้นจนถึงการสิ้นสุดโครงการในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2780 มีนักบินอวกาศอีก 10000 คนที่ประทับรอยเท้าบนดวงจันทร์